<< Go Back

                   เพื่อให้นักเรียนศึกษาการหักเหของแสง

1. กล่องแสง

2. แท่งพลาสติกใสรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

3. แผ่นช่องแสง

4. หม้อแปลงโวลต์ต่ำ

5. กระดาษขาว

 

                   1.ต่อสายไฟจากกล่องแสงเข้ากับหม้อแปลงขนาด 12 โวลต์
                   2.ใส่แผ่นช่องแสงที่ให้ลำแสง 1 ลำเข้ากับกล่องแสง
                   3.วางแท่งพลาสติกสี่เหลี่ยมผืนผ้าโดยให้หน้าแท่งพลาสติกที่ขุ่นทาบกับกระดาษขาวบนโต๊ะ
                   4.จัดลำแสงให้ทำมุมตกกระทบค่าหนึ่งที่ผิวด้านข้างแท่งพลาสติก
                   5.ลากเส้นดินสอตามขอบแท่งพลาสติกทั้งสี่ด้านบนกระดาษขาว
                   6.ลากรังสีตกกระทบและรังสีหักเหในแท่งพลาสติกซึ่งเป็นรังสีตกกระทบในแท่งพลาสติกที่ผิวอีกด้านหนึ่งของแท่งพลาสติก และรังสีหักเหในอากาศ
                   7.วัดมุมตกกระทบ  มุมหักเหในแท่งพลาสติก  มุมตกกระทบในแท่งพลาสติก  และมุมหักเหในอากาศ  แล้วบันทึกผลลงในตาราง
                   8.เปลี่ยนค่ามุม  อีก 2 ค่า แล้ววัดมุม  , และ  บันทึกผลลงในตาราง

                  9.หาค่า   และ   บันทึกผลลงในตาราง

                 ผลการทดลองที่ได้  คือ

ครั้งที่
(องศา)

(องศา)

(องศา)

(องศา)
1 30 19.5 19.5 30 1.49 0.67
2 45 28.5 28.5 45 1.48 0.67
3 60 36 36 60 1.47 0.68
                  

                   1.เมื่อลำแสงตกกระทบผิวพลาสติก จะมีทั้งลำแสงสะท้อนและลำแสงที่หักเหเข้าไปในแท่งพลาสติกใส ลำแสงที่เข้ามาในแท่งพลาสติกใสนี้จะตกกระทบผิว ซึ่งอยู่ตรงกันข้ามกับที่ตกกระทบครั้งแรก และจะเกิดการสะท้อนที่ผิวนี้อีกครั้งหนึ่งดังรูป

                   2.มุม  โตกว่า   เสมอ นั่นคือ แสงเคลื่อนที่จากอากาศเข้าสู่แท่งพลาสติก มุมหักเหจะเล็กกว่ามุมตกกระทบ
                   3.มุม  เล็กกว่า   เสมอ นั่นคือ แสงเคลื่อนที่จากแท่งพลาสติกใสไปสู่แท่งอากาศ  มุมหักเหจะโตกว่ามุมตกกระทบ
                   4.ในการทดลองแต่ละครั้ง มุม   เท่ากับมุม  นั่นคือ แนวลำแสงในอากาศที่ตกกระทบผิวแท่งพลาสติกใสขนานกับแนวลำแสงที่หักเหออกจากแท่งพลาสติกสู่อากาศ
                   5.อัตราส่วนของ  มีค่าคงตัว

                   6.อัตราส่วนของ    มีค่าคงตัว ซึ่งเป็นส่วนกลับของ


<< Go Back