<< Go Back

                     1. เพื่อให้นักเรียนสามารถสังเกตและอธิบายความแตกต่างของความสว่างและการกะพริบแสงระหว่างดาวเคราะห์
                     2. เพื่อให้นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลและอธิบายเกณฑ์การจำแนกดาวเคราะห์ พร้อมทั้งยกตัวอย่าง

1. เครื่องแอสโทรเลบ 1 ชุด
2. เข็มทิศ 1 อัน
3. แบบจำลองทรงกลมท้องฟ้าหรือแผนที่ดาว 1 ชุด
4. เทปใส 1 ม้วน
5. ปากกาสี 1 แท่ง

เครื่องแอสโทรเลบ เข็มทิศ แบบจำลองทรงกลมท้องฟ้า
แผนที่ดาว เทปใส ปากกาสี

                     1. สืบค้นข้อมูลและร่วมกันอภิปลายถึงตำแหน่งของดาวเคราะห์ในคืนที่จะทำการสังเกต ว่าจะสามารถสังเกตดาวเคราะห์ดวงใดได้บ้าง และสังเกตเห็นในเวลาใด และอยู่ในกลุ่มดาวใด
                     2. สังเกตท้องฟ้าโดยใช้ข้อมูลที่สืบค้นได้จาก ข้อ 1. เปรียบเทียบดาวในบริเวณที่สังเกตว่า ดวงใดมีความแตกต่างจากดาวดวงอื่นในเรื่องของความสว่าง และการกระพริบของแสงดาว
                     3. บันทึกตำแหน่งดาวที่สังเกตแตกต่างจากดาวดวงอื่นลงบนทรงกลมท้องฟ้าหรือแผนที่ดาว

                   ผลการทดลองที่ได้ คือ

ดาวที่สังเกต

ลักษณะปรากฏของดาวเมื่อสังเกตด้วยตาเปล่า

ลักษณะแสง

ความสว่าง

สี

ค่ามุม (องศา)

มุมทิศ

มุมเงย

ดาวเคราะห์
ดาวฤกษ์

นิ่ง
กระพริบ

สว่างมาก
สว่างน้อย

แดง เหลือง
ขาว ฯลฯ

พิจารณาจากบันทึกผล
การทดลองนักเรียน

สรุปได้ว่า

                   จากการสังเกตความสว่างของดวงดาวในท้องฟ้าจริง ดาวเคราะห์ มีความสว่างมากกว่า มีสีต่างๆ กัน ดาวเคราะห์ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง จะสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์และแสงสะท้องจะส่งเป็นสำแสงผ่านบรรยากาศของโลก และเกิดการหักเหภายในขอบเขตของลำแสง ทำให้เห็นแสงกระพริบน้อยมาก จนดูเหมือนว่ามีแสงนิ่ง เพราะดาวเคราะห์อยู่ใกล้โลกมากกว่าดาวฤกษ์ ส่วนดาวฤกษ์อยู่ไกลจากโลกมาก จนกลายเป็นจุดที่สว่าง และดาวฤกษ์ส่วนมากสว่างน้อยกว่า ลักษณะของแสงเป็นเส้นแสง
                   จึงเกิดการหักเหของแสงในชั้นบรรยากาศมองเห็นเป็นแสงกะพริบ สำหรับตำแหน่งของดาวเคราะห์ในท้องฟ้าพบว่ามีตำแหน่งตรงกับตำแหน่งดาวเคราะห์ใน กลุ่มดาวจักรราศี


<< Go Back